ไม่พบผลการค้นหา
กกต.ลงพื้นที่ตรวจหน่วยเลือกตั้งเขตบางกะปิ
ทหารเสือพระเจ้าตากมาแล้ว !
My Portfolio : "จิตหลอน"
"ประยุทธ์ " ทั้งแผ่นดิน !!!
วันนี้เสนอคำว่า "ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน"
สำรวจข้อกล่าวหา 10 รัฐมนตรีที่ถูกอภิปรายไม่ไว้วางใจ
ประเวศ & ยิ่งลักษณ์ บัญญัติ(หลาย) 10 ประการ
สแกนกรรม ต้มยำ "นโยบาย"
My Portfolio : "แปลกแยก"
กองทัพคือหัวใจของการปฏิรูป แต่ไม่มีใครแตะ
สวยทุกอย่าง บริการก็ดี แต่ไม่เป็นตัวของตัวเอง!
จังซี่มันต้อง "ถอน" ?
แพะยังลอยน้ำ
สแกนกรรม "ประชาธิปัตย์"
My portfolio หนังสั้นเรื่อง "วิ่ง วิ่ง วิ่ง วิ่ง"
บูทกองทัพ vs บูทแบรนด์เนม จะบูทไหนก็ลุยน้ำ
พลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส (30 ลำ รักษาทุกโรค)
"แท็บเล็ต" คือการปฎิรูปการศึกษาที่เป็นรูปธรรมที่สุด (รักนะเด็กไทย)
ทบ.+ ปชป. ไม่เอาปัตตานีมหานคร
มีทำไมสภาการหนังสือพิมพ์ ?????
“ดนตรี-กวีศิลป์” เสียงขับขานที่ไม่เคยจางหาย บนถนนแห่งการต่อสู้
Sep 8, 2011 14:00

รายการ Intelligence ประจำวันที่ 8 กันยายน 2554

 

สถานการณ์ชุมนุมทางการเมืองของประเทศไทยในแต่ละครั้ง  นอกจากการกล่าวปราศรัยเพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารแล้ว ยังมีกลุ่มปัญญาชน นักคิด นักเขียนรวมถึงศิลปิน ที่ทำหน้าที่ขับขานบทเพลงหรือบทกวี สร้างความฮึกเหิมหรือบรรเทาความร้อนแรงจากอารมณ์ร่วมของผู้ชุมนุม  เป็นเครื่องมือแห่งการปลุกเร้าให้เกิดแนวคิดและความรื่นรมย์  บทเพลงและบทกวี จึงเปรียบเสมือน แนวรบทางวัฒนธรรม

 

เมื่อประชาธิปไตยเริ่มเบ่งบาน  พัฒนาการของดนตรี-กวีศิลป์ บนเวทีการชุมนุมก็ผลิดอกออกใบ  เนื้อหาและท่วงทำนอง ปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัยเหตุการณ์ ตั้งแต่เสนอความทุกข์ยากของกรรมกร  การตอบโต้อำนาจรัฐที่ไม่เป็นธรรม ตลอดจนเรียกร้องประชาธิปไตยที่จับต้องได้ผ่านศิลปะแขนงต่างๆ 

 

เสียงเพลงที่กู่ร้อง บทกวีที่ขับขาน ในขบวนการการต่อสู้ของกลุ่มคนเสื้อแดง ช่วงปี 2553  

โดยมี วิสา คัญทัพ  ศิลปินเพลงและนักกวี  ผู้ซึ่งเป็นผลผลิตจากเหตุการณ์ 14 ตุลา 16  และไพจิตร  อักษรณรงค์ นักร้องเพลงเพื่อชีวิต ทำหน้าที่ถ่ายทอดความบันเทิงและคอยปลุกเร้าผู้ชุมนุม ให้มีกำลังใจในการต่อสู้เพื่อเรียกร้องประชาธิปไตย ภาพเหตุการณ์และบทเรียนจากการชุมนุมของคนเสื้อแดง ยังคงอยู่ในความทรงจำของศิลปินทั้ง 2 และถูกถ่ายทอดผ่านบทกวี บทเพลง เพื่อเป็นบันทึกแห่งการต่อสู้และคราบน้ำตา

 

Produced by VoiceTV

Voice TV
กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี
187Article
76559Video
0Blog