ไม่พบผลการค้นหา
Wake Up Thailand Special : Coffee with จตุพร พรหมพันธุ์
112 ในกระแสรอมชอม
" โชคดีที่แพ้ก่อน"
ยุบรัฐธรรมนูญ – ยุบศาล – ยุบ 3G?
"บทความ 'โฆษก'(ศาล) " ปลงไม่ตกจริงๆ
จะแก้ผ้าหรือจะแก้รัฐธรรมนูญ
Wake Up Thailand Special : Coffee with “กิตติรัตน์” ขอต้อนรับสู่ 20(1)12
มาอีกแว้ว!!!
ปั่นของแพงไม่ให้ขึ้นค่าแรงปีหน้า
ไพร่ - อำมาตย์เป็นมายา แต่'เสื้อแดง'สิของจริง
นิติราษฎร์ : ขจัดความขัดแย้งโดยไม่นิรโทษกรรม
ยืดอกพกปืน ไม่คิดต่าง แต่คิดต่อย!
น้ำผึ้งหยดเดียวหรือตายอย่างเงียบๆ
สุดยอดคุมกำเนิด ส.ส.ร. 3 ไม่ให้เกิด (เกิดก็ไม่ให้โต)
กระบี่อยู่ที่ใจ (แต่ใจใหญ่พอหรือเปล่า?)
"91+ตุ่น" ความท้าทายต่อความยุติธรรม
เป็นถึงกรรมการสิทธิ... มีเขี้ยวเล็บบ้าง !!!
หอศิลป์กทม.เสรีภาพสั้นศิลปะจะยืนยาวได้อย่างไร
Jean-Luc Mélenchon จัดหนัก
“เด็กซิ่วพันธมิตร”
“สงครามน้ำ !” บทเรียนบริหารภัยพิบัติ
Oct 30, 2011 04:25

รายการ Intelligence ประจำวันที่ 28 ต.ค. 54

 

มวลน้ำมากมายมหาศาลสุดวิสัยต้านทานได้ น้ำจะท่วมก็ต้องท่วม แต่ประเด็นสำคัญที่ ศปภ.ถูกวิพากษ์วิจารณ์คือ การสื่อสาร เตือนภัย ให้ความรู้ความเข้าใจกับประชาชน และการวางแผนรับมือสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้า

 
 
ผศ.ดร.ทวิดา กมลเวชช รองคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญวิชาบริหารจัดการภัยพิบัติ ชี้ว่าวิกฤติครั้งนี้คือบทเรียนสำคัญ ทั้งภาครัฐและภาคประชาชน วัฒนธรรมความปลอดภัยของคนไทยคือไม่เตรียมพร้อม ผู้บริหารวิ่งตามปัญหา การบริหารจัดการภัยพิบัติต้องมีตั้งแต่คาดหวังสถานการณ์ที่ดีที่สุด ไปจนวางแผนรับสถานการณ์เลวร้ายที่สุด
 
 
นักบริหารจัดการภัยพิบัติยังต้องมีทักษะในการทำงานกับสื่อ เพราะประชาชนที่เดือดร้อนกังวลย่อมกระหายข้อมูล ยิ่งสถานการณ์วิกฤติยิ่งต้องให้ข้อมูลถี่ยิบและอัพเดทอยู่เสมอ
 
 
ภัยพิบัติช่วยทำให้ความขัดแย้งลดลงได้ หากทุกคนตระหนักถึงภัยสาธารณะ แต่ถ้าใช้ภัยพิบัติทำให้เกิดความขัดแย้งทางการเมืองมากขึ้น ประชาชนคือผู้รับผลกระทบ
 
 
Produced by Voice TV
Voice TV
กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี
185Article
76559Video
0Blog