ไม่พบผลการค้นหา
World Trend - สปีลเบิร์กกังวล ความสำเร็จสตรีมมิงกระทบหนังโรง - Short Clip
World Trend - ​'จีเอ็ม' เตรียมส่งอาหารด้วยรถยนต์ไร้คนขับ - Short Clip
World Trend - ‘สตาร์บัคส์’ เตรียมเปิดร้านใช้ภาษามือแห่งแรกในอเมริกา - Short Clip
World Trend - นักวิทย์ฯ คิดค้นยาหยอดกันจอตาเสื่อม - Short Clip
World Trend - วงการไอทีในอินเดียยังขาดพื้นที่ให้ '​ผู้นำหญิง'​ - Short Clip
World Trend - จีนเตรียมเปิดอุทยานแห่งชาติแพนด้ายักษ์ - Short Clip
World Trend - อย.สหรัฐฯ พิจารณาติดฉลากเตือนแพ้งา - Short Clip
World Trend - 'ชวาร์เซเน็กเกอร์' เตรียมฟ้องบริษัทน้ำมันทำโลกร้อน - Short Clip
World Trend - การดื่มน้ำหวานอาจเร่งให้เนื้อร้ายโตเร็ว - Short Clip
World Trend - สหราชอาณาจักรเตรียมติดตั้งเน็ตความเร็วสูงทุกครัวเรือนในปี 2033- Short Clip
World Trend - รายได้หนังกับการเข้าชิงออสการ์ 'นำชาย' ปีนี้ - Short Clip
World Trend - เกาหลีเหนือเตรียมจัดประชุมบล็อกเชน - Short Clip
World Trend - 'รัสเซีย-สหรัฐฯ' เตรียมจับมือสำรวจดาวศุกร์ - Short Clip
World Trend - Solariaโซลาร์เซลล์ที่ประหยัดขึ้นอีกขั้น - Short Clip
World Trend - บริษัทรถเร่งพัฒนาระบบชาร์จแบตฯ เต็มใน 15 นาที - Short Clip
World Trend - 'Cherophobia' โรคกลัวการมีความสุข - Short Clip
World Trend - นิวยอร์กเผยสถิติ 'เด็กไร้บ้าน' เรียนจบมัธยม - Short Clip
World Trend - ธุรกิจการบินร่วมพัฒนาบริการอินเทอร์เน็ตบนเครื่องบิน - Short Clip
World Trend - ​เข้ายิมอย่างเดียวไม่ช่วยให้แข็งแรง หากไม่เปลี่ยนไลฟ์สไตล์ - Short Clip
Tech Feed : สมาร์ตโฟนช่วยกระตุ้นให้ออกกำลังกายได้
World Trend - นักวิทย์ฯ พัฒนาจอสมาร์โฟนแตกยากในราคาถูก - Short Clip
Mar 9, 2018 10:50

ทีมนักวิทยาศาตร์จากมหาวิทยาลัยซัสเซ็กส์ ของสหรัฐฯ ได้พัฒนาวิธีผลิตหน้าจอสมาร์ตโฟน ให้แตกยาก ราคาถูกลง และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ทีมนักวิทยาศาตร์จากมหาวิทยาลัยซัสเซ็กส์ ได้พัฒนาแนวทางใหม่สำหรับผลิตหน้าจอสมาร์ตโฟน ให้คงทน แตกยาก และมีราคาถูก โดยทีมวิจัยนำโดยศาตราจารย์ อลัน ดัลตัน ได้ทำการผสมวัตถุดิบ ระหว่างเงิน และวัสดุมหัศจรรย์อย่างกราฟีน (Graphene) มารวมกับพลาสติก เพื่อสร้างหน้าจอที่โค้งงอได้ 

โดยข้อมูลงานวิจัยของดร. แมทธิว ลาร์จ ระบุว่า ปัจจุบันหน้าจอสมาร์ตโฟนมีส่วนประกอบของอินเดียมทินออกไซด์ ซึ่งมีความเปราะบางมาก และเป็นสารเคลือบที่ต้องใช้ร่วมกับพื้นผิวที่เป็นแก้ว เพื่อเคลือบไม่ให้แตกง่าย ซึ่งตามหลักแล้ว แก้วเป็นวัสดุที่แตกหักง่ายเป็นทุนเดิม ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้ จึงมุ่งเน้นไปที่การใช้วัสดุที่เป็นเงินขนาดนาโน รวมกับกราฟีน เพื่อแทนอินเดียมทินออกไซด์ และเปลี่ยนพื้นผิวที่รองรับจากเดิมที่เป็นแก้วให้เป็นพลาสติกที่ยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

สำหรับส่วนประกอบหลักของอินเดียมทินออกไซด์นั้นคือธาตุอินเดียม ซึ่งเป็นโลหะหายากและกระบวนการสกัดแร่ยังเป็นอันตรายต่อระบบนิเวศน์ ดังนั้น การนำธาตุเงินมาใช้จึงถือเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด แต่ก็ยังเป็นธาตุที่หายากและมีราคาแพงอยู่  

โดยการทดลอง นักวิทยาศาสตร์ได้นำเอาเงินขนาดนาโน พ่นลงไปบนหน้าจอพลาสติก และนำเอาอนุภาคของกราฟีนไปลอยในน้ำ ก่อนที่จะหยิบขึ้นมาวางทับลงบนฟิล์มเงินนาโนที่วางไปก่อนหน้านี้ เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพในการสัมผัสที่ดีดังเดิม แต่จะยืดหยุ่นมากขึ้น ซึ่งกราฟินยังมีคุณสมบัติในการนำไฟฟ้าที่ดีมาก ดังนั้นจึงช่วยลดการใช้วัตถุดิบที่เป็นเงิน ส่งผลให้ต้นทุนถูกลง 

งานวิจัยนี้เกิดจากการร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย Surrey และ Taif ในซาอุดีอาระเบีย และได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร Langmuir American Chemical Society เป็นที่เรียบร้อยแล้ว

Voice TV
กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี
184Article
76559Video
0Blog