ไม่พบผลการค้นหา
ความในใจภรรยา – ลูกชายจ่าเพียร
เพื่อไทยประชุมทีมเศรษฐกิจ
อัยการสั่ง 13 ก.พ.สุเทพ ต้องมามอบตัวคดีสั่งสลายชุมนุมปี 53
นายกฯ ขอยุติชุมนุมร่วมถวายพระพรในหลวง
ไทย- กัมพูชา สงครามเขตแดนครั้งสุดท้าย ?
2 พรรคใหญ่เตรียมปราศรัยใหญ่ 1 ก.ค.นี้
"กระเหรี่ยงรุกป่าหรือถูกละเมิดสิทธิ”…เสียงสะท้อนจากผืนป่าแก่งกระจาน
ย้อนเหตุปะทะที่หลักสี่ ตอนที่ 2
Talking Thailand - 'บิ๊กตู่' จะรู้ไหม...นักศึกษาขอให้ลดค่าเทอม แต่ถูกขู่! ผิด พ.ร.ก.ฉุกเฉิน - Short Clip
The Daily Dose - ทุกคนสนใจว่าใครจะได้เป็นนายกฯ หลังเลือกตั้ง - FULL EP.
Talking Thailand - “ประยุทธ์” โคตรป๊อด! “คำผกา” ท้าให้ลงเลือกตั้ง...ถ้าคิดว่ามีคนหนุนเยอะ  - Short Clip
Wake Up News - เทปลับเริ่มชัด ใช้ ม.44อุ้ม กสทช.ชุดเก่าทำงานยาว - Short Clip
Talking Thailand - จะชน “ม็อบนศ.” ก็หาคนที่มีศักดิ์มีศรีมาสู้กัน! เอ..คลังสมอง กปปส.ไปไหน   - Short Clip
Talking Thailand - “ส.ว.ลากตั้ง” ยังตีกินแบบไร้หลักฐาน โยง “ทักษิณ–ธนาธร” อยู่เบื้องหลังม็อบ - Short Clip
Talking Thailand - ตำรวจไทยมีปัญหาการใช้กฎหมาย เฝ้าแต่ทำตาม ‘นายสั่ง’ - Short Clip
''รัฐฉาน'' ยังไร้ชาติ - ''รัฐไทย'' ยังไร้สามัคคี
Feb 7, 2011 15:06

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ของทุกปี ถือเป็นวันชาติของชาวไทใหญ่ในรัฐฉาน ดินแดนที่ยังคงต่อสู้เรียกร้องหาความเป็นไทและเอกราช

รัฐฉานที่มีชายแดนติดกับประเทศไทย ลาว จีน และพม่า เป็นเมืองที่มีเอกราชมาแต่สมัยก่อน ถึงแม้ว่า รัฐต่าง ๆ ของรัฐฉาน จะถูกแยกการปกครองโดยบรรดาเจ้าฟ้า แต่ระบอบการปกครองของเจ้าฟ้าเหล่านั้น ก็มีลักษณะจารีต

ประเพณี คล้ายคลึงและเป็น มาตรฐานเดียวกัน จนในที่สุด ก่อกำเนิดเป็น สหพันธ์รัฐ (Federated States)


เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 1947 นั้น เหล่าผู้นำของไทใหญ่ในสมัยนั้น ได้จัดประชุมขึ้นที่ อำเภอปางโหลง และในที่ประชุม ได้มีมติจัดตั้ง สภารัฐฉาน (Shan State Congress)  ซึ่งในที่ประชุมนี้ ประกอบไปด้วย เจ้าฟ้าไทใหญ่ 7 องค์ และ

ตัวแทนภาคประชาชนอีก7 คน รวม 14 คน ได้ตกลงที่จะปกครองรัฐฉานร่วมกัน โดยที่ไม่ขึ้นตรงกับใคร มีมติกำหนด “ธงชาติไทยใหญ่” เป็น สีเหลือง , สีเขียว , สีแดง สามสีตัดกัน โดยมีวงกลมสีขาวอยู่ตรงกลางและยังได้มีมติกำหนดใช้เพลงชาติไทใหญ่ขึ้น

ส่วนนายพลอ่องซานนั้น มาถึงปางโหลงเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์1947 จากนั้น จึงได้มีการประชุมร่วมกันกับกลุ่มผู้นำของไทใหญ่ , ชิน และคะฉิ่นซึ่งเป็นที่มาของสัญญาปางโหลง (Panglong agreement) ขึ้น เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์

1947 ต่อมาภายหลัง สหภาพพม่าจึงได้รับเอกราชจากการปกครองของอังกฤษ เมื่อวันที่ 4 มกราคม 1948  ด้วยเหตุนี้ จึงได้กำหนด วันที่ 7 กุมภาพันธ์ เป็นวันชาติของไทใหญ่มาตราบจนทุกวันนี้

ตั้งแต่ ปี ค.ศ.1956  ทหารพม่ากระทำการทารุณกรรมต่อชาวฉานอย่างรุนแรง  จึงทำให้ประชาชนชาวฉาน ที่ต้องการสิทธิเสรีภาพของตนเอง รักในความถูกต้อง เป็นธรรม ลุกขึ้นมาต่อสู้ เรียกร้องหาสิทธิของตนเอง ตามระบอบ

ประชาธิปไตย SSA  ภาคใตภายใตการนําของ พล.ท.เจ้ายอดศึกไดกอตั้งสภาเพื่อกอบกูรัฐฉาน   RCSS (Restoration Council of the Shan State)   พล.ท.เจ้ายอดศึกยายกองบัญชาการสูงสุด กองทัพกูชาติไทใหญ (SSA) มาตั้งฐานกําลัง

ที่ดอยไตแลง เขตรอยตอระหวาง เมืองปน และเมืองโตน รัฐฉาน ประเทศพมา ตรงขามอําเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอน  เจายอดศึกกับผูนํากองทัพไทใหญที่รักชาติไดตัดสินใจวา  จะไมยอมแพพมาโดยเด็ดขาด  แตถาสงบศึก

หยุดยิงนั้น ทางฝายพมาไมยอมรับขอเสนอนี้   และยังจัดกําลังเขารบกับกองกําลังของเจายอดศึกอยางรุนแรง  ทั้งยังหามกลุมไทใหญที่เปนกลุมหยุดยิงอื่นๆ  ไมใหรับกลุมของเจายอดศึกเขารวมโดยเด็ดขาด  สุดทายเจายอดศึกจึงกอตั้ง

กองกําลังอิสระตอสูกับพมาเพียงลําพัง ตอมาทานคิดวา ถาชาวไทใหญไมเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน- ไมเปนกลุมเดียวกันแลว  พวกเราชาวไทใหญจะไมอาจยืนหยัดตอไปได  ทานจึงเรียกใหมีการประชุมกับประชาชน  เมื่อวันที่ 5-7มีนาคม 1997 ขึ้น เพื่อหวังใหกองกําลังไทใหญกลุมตางๆ รวมมือประสานงานกัน


 

Produced by VoiceTV
Voice TV
กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี
185Article
76559Video
0Blog