ไม่พบผลการค้นหา
'หมุนกงล้อประวัติศาสตร์ 14 + 6 ตุลา' สู่อนาคตการเมืองไทย
นับถอยหลังศาลโลกพิพากษา ตอนที่ 2
12 ลักษณะ 6 ทางเลือก
นับถอยหลังศาลโลกพิพากษา
“ซุปเปอร์เอ็กซ์เพรสฟลัดเวย์” 1 ใน 11 มาตรการแก้น้ำท่วม
ทำไมต้อง 'ปฏิรูปศาล'
รำลึก 36 ปี 6 ตุลา จากปากคำ 3 อดีตผู้นำนักศึกษา
คิดใหม่ประชานิยม
“ครก. 112 VS สยามประชาภิวัฒน์” ว่าด้วยการแก้ - ไม่แก้ ม. 112
ปฏิรูปตำรวจ
สะพานนวัตกรรม
ชำแหละ กสทช.
8 ปี ไฟใต้ไม่ดับ แต่ธุรกิจอสังหาฯพุ่งสวนทาง
ม. 112 ภาพสะท้อนวิกฤติอัตลักษณ์ "ความเป็นไทย"
เวรกรรมของนักการเมืองที่ต้องเจอทหาร
'นโยบายต่างประเทศ' การถูกจับเป็นตัวประกันของการเมืองภายใน
เปิดแผนบริหารจัดการน้ำ กยน. - รัฐบาล "เอาอยู่"?
โปรดฟังอีกครั้ง ! “ไม่ยอมรับรัฐประหาร”
กระจาย 'ความเป็นไทย'
"วิกฤติน้ำ" VS " วิกฤติคน"
11 ปีไฟใต้ในบริบททับซ้อน
Jan 11, 2015 13:33

รายการ Intelligence ประจำวันที่ 6 มกราคม 2558

รายการ Intelligence วันอาทิตย์ที่ 11 มกราคม สนทนากับ ศ.ดร.สุรชาติ บำรุงสุข จากคณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยเริ่มจากความเคลื่อนไหวของ"กลุ่มรัฐอิสลาม"หรือ กลุ่มไอเอส (Isalamic State) อาจารย์สุรชาติ วิเคราะห์ว่า การประกาศนโยบายจัดการกับกลุ่มไอเอสในวันที่ 11 กันยายน 2557 เป็นเสมือน "สงครามอิรักครั้งที่ 3" และมองวิกฤติตัวประกัน ที่ซิดนีย์ ออสเตรเลีย เมื่อกลางเดือนธันวาคมปีที่้แล้ว และการสังหารหมู่นักเรียนที่ปากีสถาน เป็น"นาฬิกาปลุก"ให้ทุกประเทศตระหนักถึงภัยคุกคามจากการก่อการร้าย และการขับเคลื่อนของโลกอิสลามที่เชื่อมโยงกับทุกภูมิภาค


ส่วนปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ศ.ดร.สุรชาติ ประเมินว่า มี 3 บริบททับซ้อนกันอยู่ คือ บริบทของโลก บริบทของภูมิภาค และบริบทการเมืองภายในของไทย เพราะต้องยอมรับว่าวิกฤติไฟใต้ในรอบกว่า 10 ปีซ้อนทับอยู่กับวิกฤติทางการเมือง สงครามสีเสื้อ ดังนั้นรัฐบาลทุกชุดทั้งที่มาจากการเลือกตั้ง หรือการรัฐประหารจึงไม่ได้วางน้ำหนักในการแก้ปัญหาความสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างจริงจัง จนสรุปได้ว่า รัฐบาลที่อ่อนแอย่อมทำยุทธศาสร์ที่ดีไม่ได้"


 

Voice TV
กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี
187Article
76559Video
0Blog