ไม่พบผลการค้นหา
นโยบายพรรคเพื่อไทยกับอนาคตชายแดนใต้...ฝันที่เป็นจริง?
“จ่ายครบ จบแน่” ธุรกิจผลิตปัญญาชน ?
"พลังงานเพื่อความยั่งยืนของประเทศ"
เสี่ยงหรือไม่ลงทุนทองคำ
“เอ็นจีโอ” วิพากษ์แผนพัฒนา 25 ลุ่มน้ำ มีแต่การสร้าง “เขื่อน”
ประเมินการเมืองไทยหลังน้ำลด
'นโยบายต่างประเทศ' การถูกจับเป็นตัวประกันของการเมืองภายใน
“ด้วยสองมือพ่อ”
แตกประเด็นคดีปล้นบ้านปลัดคมนาคม...เผยข้อมูลสู้ทุจริต !
คลี่ปัญหาความเหลื่อมล้ำ- ไม่เป็นธรรมในกระบวนการยุติธรรม
ไทยติดแบล็คลิสต์ ประเทศเสี่ยงฟอกเงิน
“เชียงใหม่มหานคร” โมเดลจังหวัดจัดการตนเอง
กู้อยุธยา...เร่งบูรณะโบราณสถาน
“เสียงสะท้อนจากคนชายแดน” วอนรัฐไทย-กัมพูชา หยุดเติมเชื้อไฟ!
ผลวิจัยชี้ “ทุจริตคอรัปชั่นระดับชาติถึงท้องถิ่นเพิ่มสูงขึ้น”
จุฬาราชมนตรี แนะใช้หลักศาสนา...ดับไฟใต้ ดับไฟชาติ!
ศูนย์ปฏิบัติการตำรวจจังหวัดชายแดนภาคใต้ กับภารกิจดับไฟใต้
“ก้าวข้ามความกลัว”... มาตรา 112 !
“อุทยานฯแก่งกระจาน” กับภารกิจปกป้องผืนป่า
วิเคราะห์การอภิปรายไม่ไว้วางใจวันสุดท้าย
เปิดข้อเสนอระยะสั้น-กลาง- ยาว แก้ปัญหาน้ำท่วม
Oct 18, 2011 14:02

รายการ Intelligence ประจำวันที่ 18 ต.ค. 54

 

วิกฤติอุทกภัยที่ประเทศไ��ยเผชิญอยู่ในขณะนี้เป็นวิกฤติที่สร้างความเสียหายรุนแรง จนยังไม่สามารถประเมินมูลค่าความเสียหาย และคาดว่าจะยืดเยื้อไปจนถึงกลางเดือนพฤศจิกายน นั่นหมายความว่า พื้นที่เกือบ 30 จังหวัดของประเทศ ในภาคเหนือ  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลางต้องจมอยู่ใต้น้ำนานกว่า 3 เดือน

 

รศ.ชัยวัฒน์ ขยันการนาวี  จากภาควิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  ประเมินสภาพปัญหาน้ำท่วมในปีนี้ว่า เกิดจากปริมาณน้ำสะสมจากพายุหลายลูกที่พัดเข้ามา เช่นพายุนกเตน ไหหม่า  เนสาด และนาลแก  แม้ปริมาณน้ำจะไม่มากเท่ากับปี 2538  แต่การขยายตัวของเมืองจากการพัฒนาทำให้เป็นอุปสรรคต่อการไหลของน้ำ

 

นักวิชาการจากมหาวิทยาเกษตรศาสตร์ เสนอมาตรการระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว เพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วมซ้ำซาก

 

มาตรการระยะสั้น เช่น  ฟื้นฟูป่าไม้ อนุรักษ์แหล่งน้ำ กำหนดพื้นที่ควบคุมการก่อสร้างริมแม่น้ำ จัดตั้งกองทุนอุทกภัย  กำหนดพื้นที่เกษตรรับน้ำนอง  ก่อสร้างระบบผันน้ำขนาดกลาง

 

 มาตรการระยะกลาง เช่น  ก่อสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ การก่อสร้างคลองที่เป็นทางด่วนน้ำ ในพื้นที่ อ.มโนรมย์ จ.ชัยนาท มายังฝั่งตะวันออก ผันน้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยา มายังแม่น้ำนครนายก ลงไปที่แม่น้ำบางปะกง ระยะทางประมาณ 100 กิโลเมตร

 

 มาตรการระยะยาว คือ การสร้างเขื่อนกั้นอ่าวไทย จากแหลมผักเบี้ย จังหวัดเพชรบุรี ไปยังแหลมฉบับ จังหวัดชลบุรี เป็นมาตรการที่มีผลกระทบทั้งด้านบวก และด้านลบ เช่น ผลกระทบด้านนิเวศ เป็นโครงการที่ได้ไอเดียจากประเทศเนเธอร์แลนด์  จากการศึกษาเบื้องต้นโครงการนี้จะช่วยให้กรุงเทพรอดพ้นจากการจมน้ำในอีก 10 ปีข้างหน้า

 

Produced by VoiceTV

Voice TV
กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี
187Article
76559Video
0Blog